12:00 PM
0
้ ขอขอบคุณสำหรับการเข้ามาเยี่ยมชมเว็บสายของเราและเพื่อการศึกข้อมูลเกี่ยวกับ ก๊าซและประเภทของก๊าซต่างๆที่เราได้เขียนและจักทำเพื่อให้คนที่ใคร่ศึกษา เรียนรู้เกี่ยวก๊าซ ทางเราจะพยายามจักหาข้อมูลและวิธีใช้มาให้ทุกท่านได้ศึกษา หวังอย่างยิ่งว่าเราจะเป็นส่วนหนึ่งที่ให้ข้อมูลทุกท่าน



องท�ำความเข้าใจก่อนว่า LPG กับ NGV นั้น
แม้จะมีสถานะเป็นก๊าซเหมือนกัน
แต่การใช้งานก็มีความแตกต่างกันอยู่ไม่น้อยในรายละเอียด
LPG หรือ ปิโตรเลียมเหลว คือ ก๊าซบิวเทน หรือบิวเทนผสมโพรเพน
NGV รู้จักกันโดยทั่วไปว่า “ก๊าซธรรมชาติเติมรถยนต์” นั้น คือ ก๊าซมีเทน

การได้มาของก๊าซ LPG ก็เหมือนน�้ำมันเชื้อเพลิงอื่นๆ คือ
ได้จากกระบวนการกลั่นน�้ำมัน หรือการแยกก๊าซธรรมชาติ
ในขั้นตอนการกลั่นน�้ำมัน หลักการง่ายๆ ก็คือ น�ำน�้ำมันดิบมาให้ความร้อน
เชื้อเพลิงก็จะถูกแยกออกไปตามจุดเดือด ก๊าซ LPG เป็นน�้ำมันชนิดเบา จะแยก
ออกมาก่อน และเรียงไปตามล�ำดับจุดเดือดตามมาด้วยแก๊สโซลีนผสมจากเบาไป
หากลางก็จะได้น�้ำมัน Jet น�้ำมันก๊าด น�้ำมันดีเซล และต่อมาน�้ำมันชนิดหนักก็คือ
น�้ำมันเตา ยางมะตอย ก็จะออกมาตอนท้ายสุด

LPG น�ำมาใช้เป็นเชื้อเพลิง
และเป็นเชื้อเพลิงที่เผาไหม้หมดจด ให้พลังงานความร้อนดี เมื่อน�ำมาให้ความเย็น
ที่ลบ 50 องศาเซลเซียส ก็จะเปลี่ยนสถานะไปอยู่ในรูปของเหลว สามารถอัดลง
ถังเก็บด้วยแรงดันไม่มากนัก คือ 100 - 130 ปอนด์ต่อตารางนิ้ว (PSI) ท�ำการ
ขนส่งไปขายตามบ้านได้สะดวก
แต่จะนับว่าเป็นน�้ำมันเชื้อเพลิงชั้นดี ก็ยังไม่สะดวกปากเพราะมีข้อจ�ำกัด
อยู่เหมือนกัน ก็ LPG นั้นหนักกว่าอากาศ หากเกิดรั่วไหลจะเป็นอันตราย
เพราะมันจะรวมตัวกันอยู่ที่พื้น หากมีประกายไฟขึ้นล่ะก็ ตูม!
แต่เหตุผลที่ “ไม่ใช่” ยิ่งกว่านั้นเป็นเรื่องของ “คุณค่า” และ “มูลค่า” เพราะ
LPG เป็นวัตถุดิบส�ำคัญในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี และการที่มีการลงทุนสร้าง
โรงแยกก๊าซขึ้นเป็นครั้งแรกที่มาบตาพุด จ.ระยอง เปิดท�ำการเมื่อ พ.ศ.2528
ก็เพื่อน�ำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงและ ป้อนอุตสาหกรรมปิโตรเคมี

0 comments:

Post a Comment